คลื่นนิ่ง (standing wave)
คลื่นนิ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการแทรกสอดของคลื่น 2 ขบวนที่เหมือนกันทุกประการ เคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันข้ามกัน
ทำให้เกิดคลื่นลัพธ์ที่มีแนวปฏิบัพและแนวบัพอยู่ตำแหน่งเดิมตลอดเวลา
เรียกคลื่นลัพธ์ลักษณะนี้ว่า คลื่นนิ่ง
จากรูป จะเห็นว่าบางตำแหน่งไม่มีการสั่นเลยเรียกจุดนี้ว่าจุดบัพและบางตำแหน่งมีการสั่นได้มากที่สุด
เรียกจุดนี้ว่าจุดปฏิบัพ และเรียกบริเวณที่อยู่ระหว่างบัพว่า Loop
ลักษณะของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น
1. จุดบัพที่อยู่ติดกันจะห่างกัน
เท่ากับ λ/2 เสมอ
2. จุดปฏิบัพที่อยู่ติดกันจะห่างกัน เท่ากับ λ/2 เสมอ
3. จุดบัพและปฏิบัพที่ติดกันจะห่างกัน เท่ากับ λ/4 เสมอ
4. แอมพลิจูดสูงสุดของจุดปฏิบัพจะเป็นสองเท่าของคลื่นย่อยทั้งสอง
5. คาบของคลื่นนิ่งจะเท่ากับคาบของคลื่นย่อยทั้งสอง
2. จุดปฏิบัพที่อยู่ติดกันจะห่างกัน เท่ากับ λ/2 เสมอ
3. จุดบัพและปฏิบัพที่ติดกันจะห่างกัน เท่ากับ λ/4 เสมอ
4. แอมพลิจูดสูงสุดของจุดปฏิบัพจะเป็นสองเท่าของคลื่นย่อยทั้งสอง
5. คาบของคลื่นนิ่งจะเท่ากับคาบของคลื่นย่อยทั้งสอง
สำหรับ
คลื่นนิ่งซึ่งเกิดในตัวกลางซึ่งปลายทั้งสองข้างถูกตรึงไว้นั้น
บริเวณปลายตรึงทั้งสองข้างจะเป็นตำแหน่งของบัพ
ส่วนถ้าบริเวณปลายทั้งสองข้างของตัวกลางนั้นเป็นปลายอิสระ
ปลายทั้งสองข้างก็จะเป็นตำแหน่งของปฏิบัพ ดังรูป
รูปแสดง
คลื่นนิ่งปลายตรึง รูปแสดง
คลื่นนิ่งปลายอิสระ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น